หน้าหลัก >> ปฏิทินวัฒนธรรม
วันที่เริ่ม : วันที่สิ้นสุด :
ค้นหา :
เฉพาะหมวดปฏิทินวัฒนธรรม ข่าว/บทความทั้งหมด
ปฏิทินวัฒนธรรม

หมวดย่อย
   เดือนเกี๋ยง
   เดือนยี่
   เดือน3 เหนือ เดือน 1ใต้
   เดือน4 เหนือ เดือน2 ใต้
   เดือน5 เหนือ เดือน 3 ใต้
   เดือน 6
   ประเพณีเดือน 7 เหนือ เดิน 5 ใต้
   เดือน 8 เหนือ เดือน 6 ใต้
   ประเพณีเดือน 9 เหนือ เดือน 7 ใต้
   ประเพณีเดือน 10 เหนือ เดือน 8 ใต้
   ประเพณีเดือน 11 เหนือ เดือน 8 ใต้
   ประเพณีเดือน 12 เหนือ เดือน 10 ใต้

ประเพณีตานเปรตพลี (อุทิศส่วนบุญหาผู้ตาย) (26 มี.ค. 2563)
ประเพณีอุทิศหาผู้ตาย บางทีเรียกว่า ประเพณีเดือน 12 เป็ง ประชาชนในภาคเหนือ นิยมอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้บรรพบุรุษของตน
ประเพณีจาคะข้าว คนเฒ่าจำศีล (26 มี.ค. 2563)
การจาคะ คือ การเสียสละบริจาคข้าวของตนให้เป็นทานแก่ผู้อื่นจาคะข้าว คือการถวายข้าวเปล่า อาหารแด่พระสงฆ์คนเฒ่าจำศีล
ประเพณีตานก๋วยสลาก (26 มี.ค. 2563)
ประเพณีตานสลาก คือ การทำบุญสลากภัตในภาคเหนือ มีเรียกชื่อแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น บางแห่งเรียว่า “กิ๋นก๋วยสลาก” บางแห่ง “กิ๋นสลาก” บางแห่งว่า “ตานก๋วยสลาก”
ประเพณีการฟังเทศน์ ฟังธรรม (26 มี.ค. 2563)
ฤดูกาลเข้าพรรษา ในภาคเหนือมีประเพณีสำคัญอย่างหนึ่ง คือ การเข้าวัดฟังเทศน์ฟังธรรมประชาชนทุกบ้านทุกเรือน
ประเพณีสามีจิกรรม (26 มี.ค. 2563)
สามีจิกรรม คือ การกระทำที่ถูกต้องที่ควรในวัดเมื่ออุบาสกอุบาสิกาไปถึงวัดแล้ว
ประเพณีสู่ขวัญควาย (26 มี.ค. 2563)
ชาวนา คือ “กระดูกสันหลังของชาติ” หมายถึง เป็นพลังสำคัญของประเทศในด้านอาหาร คือข้าวและพืชผลอย่างอื่น
ประเพณีเอามื้อ (ลงแขก) (26 มี.ค. 2563)
ประชาชนในภาคเหนือ มีความสมัครสมานสามัคคีกันดียิ่ง โดยเฉพาะในเขตชนบททั่วไปเมื่อมีงานอะไรเกิดขึ้นสมาชิกในหมู่บ้านทุกครัวเรือนต้องไปช่วยเหลือกัน เรียกว่า การเอามื้อ
ประเพณีแฮกนา – หว่านกล้า – ไถนา (25 มี.ค. 2563)
การแฮกนา ของภาคเหนือกับการแรกนาของภาคกลาง เป็นอันเดียวกันต่างแต่ภาคเหนือประชาชนออกเสียงเป็นแฮกนา เป็นอย่างเดียวกับจรดพระนางครรภ์ คือ การไถนา หรือพระราชพิธีแรกนาขวัญ ซึ่งเป็นพระราชพิธีของแผ่นดิน
ประเพณีเข้าพรรษา (25 มี.ค. 2563)
ประเพณีตาน (ทาน)ขันข้าว (25 มี.ค. 2563)
ประเพณีถวายเทียนจำนำพรรษา (25 มี.ค. 2563)
การถวายเทียนพรรษาเป็นประเพณีหนึ่งของชาวเหนือที่นิยมทำกัน นอกจากหวังให้เกิดบุญกุศลแล้ว ถ้าทำเทียนใหญ่ก็ก่อให้เกิดความสมัครสามัคคีในหมู่คณะ จึงสมควรที่จะช่วยกันอนุรักษ์ประเพณีโดยชี่วยกันรักษาไว้ให้คงมีต่อไป อย่าให้เสื่อมสูญ
ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน (25 มี.ค. 2563)
ผ้าอาบน้ำฝนที่เรียกกันว่า “วัสสิกพัตร” นั้นเป็นสิ่งที่ชาวพุทธในภาคเหนือนิยมแก่พระสงฆ์ในงานเข้าพรรษา เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่พระสงฆ์ ที่เข้าประจำอยู่ในวัด
ประเพณีนอนวัดจำศีล (25 มี.ค. 2563)
ประเพณีนอนวัดจำศีล ตรงกับภาคกลางว่า ถืออุโบสถศีล เป็นประเพณีที่ชาวเหนือถือปฏิบัติกันมาแต่โบราณ ผู้ที่ไปนอนวัดจำศีลส่วนมากมักจะเป็นผู้สูงอายุคือ ผู้เฒ่า ผู้แก่
ประเพณีฟ้อนผีมด – ผีเม็ง (25 มี.ค. 2563)
ประเพณีเลี้ยงผีขุนน้ำ (25 มี.ค. 2563)
ผีขุนน้ำ ก็หมายถึง สิ่งที่สิงสถิตอยู่ตามต้นน้ำลำธารหรืออารักษ์ ต้นน้ำลำธารอันมีหน้าที่ปกปักษ์รักษาต้นน้ำลำธารนั่นเอง ตัวอยางเช่น อารักษ์น้ำแม่ปิง หรือขุนน้ำแม่ปิง
การเลี้ยงผีปู่ ย่า ตา ยาย (25 มี.ค. 2563)
ประเพณีจิบอกไฟ (จุดบ้องไฟ) (25 มี.ค. 2563)
พิธีสืบชะตา (25 มี.ค. 2563)
การสืบชะตาหรือสืบชาตา หรือการต่ออายุ หรือสืบชะตากำเนิดให้ยืดยาวต่อไป หมายถึง ต้องการให้เป็นมงคล มีชีวิตอยู่อย่างสุขสบายปราศจากโรคภัยทั้งหลาย ทำให้มีความเจริญรุ่งเรืองสืบไป
ประเพณีขึ้นพระธาตุ (25 มี.ค. 2563)
วันเพ็ญเดือน 8 (เหนือ) เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนามาก ตรงกับวันประสูติตรัสรู้และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าเป็นวันที่ชาวพุทธทั้งโลกทำพิธีรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์โดยการทำบุญถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์และรักษาศีล ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรมกันทั่วไป
ตีก๋องปู่จาเขลางค์นคร (24 มี.ค. 2563)
1 2 3 ถัดไป >>

ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวประชาสัมพันธ์



ปฏิทินกิจกรรม
« พฤษภาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
    1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด


เลขที่ ๔๐๙ ถนนพระเจ้าทันใจ ตำบลต้นธงชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง
โทรศัพท์ ๐ ๕๔๒๒ ๘๗๖๓  โทรสาร ๐ ๕๔๘๒ ๔๑๘๒
สายด่วนวัฒนธรรม
Copyright © 2015 m-culture.go.th กระทรวงวัฒนธรรม